อัตราค่าแรงขั้นต่ำ 2567 ของแต่ละจังหวัดในประเทศไทย
ค่าแรง
หมายถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้กับลูกจ้างเป็นค่าตอบแทนการทำงาน
ซึ่งอาจประกอบด้วยค่าจ้าง ค่าคอมมิชชัน ค่าโบนัส ค่าเบี้ยขยัน
ค่าตำแหน่ง ค่าเวร ค่ากะ ค่าเที่ยว ค่าเช่าบ้าน ค่าอาหาร ค่าเสื้อผ้า
ค่าศึกษา ค่ารักษาพยาบาล ค่าเงินช่วยเหลือ ค่าเงินประจำปี
ค่าเงินค่าตอบแทนพิเศษ ค่าเงินเหมาจ่าย หรือค่าเงินอื่นใดที่เป็นเงินสด
หรือเป็นสิ่งใดที่มีมูลค่าเป็นเงินสด
ในประเทศไทย มีการกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำ ซึ่งเป็นอัตราค่าจ้างต่ำสุด
ที่นายจ้างต้องจ่ายให้กับลูกจ้าง
โดยอ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
(ฉบับที่ 11) ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ มี 9 อัตราแบ่งตามพื้นที่
โดยกำหนดอัตราต่ำสุด 328 บาท และอัตราสูงสุด 354 บาท
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ 2567
แบ่งตามอัตราค่าจ้างต่ำสุดไปสูงสุด
1.ยะลา ปัตตานี นราธิวาส น่าน อุดรธานี
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 328 บาท
2.กำแพงเพชร ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช พิจิตร แพร่ มหาสารคาม แม่ฮ่องสอน ระนอง ราชบุรี ลำปาง ลำพูน ศรีสะเกษ สตูล สิงห์บุรี สุโขทัย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุทัยธานี
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 332 บาท
3.กาญจนบุรี ชัยนาท นครพนม นครสวรรค์ บึงกาฬ บุรีรัมย์ ประจวบคีรีขันธ์ พะเยา พัทลุง พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ์ ยโสธร ร้องเอ็ด เลย สระแก้ว สุรินทร์ อ่างทอง อุตรดิตถ์
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 335 บาท
4.กาฬสินธุ์ จันทบุรี นครนายก มุกดาหาร สกลนคร สมุทรสงคราม
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 338 บาท
5.กระบี่ ขอนแก่น เชียงใหม่ ตราด นครราชสีมา ปราจีนบุรี พังงา ลพบุรี สงขลา สระบุรี สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี หนองคาย อุบลราชธานี
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 340 บาท
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 343 บาท
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 345 บาท
8.กทม. นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 353 บาท
อัตราค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 354 บาท
รวม 77 จังหวัด อัตราค่าแรงขั้นต่ำเฉลี่ย
337 บาทต่อวัน