Share Facebook LINE Twitter
หน้าแรก เว็บบอร์ด Chat ตรวจหวย ควิซ คำนวณ Pageแชร์ลิ้ง
หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

การเดินทางของรส ชาติหวาน ที่แสนจะข่มขื่น กับเรื่องราวประวัติศาสตร์อันยาวนานที่คุณอาจจะไม่เคยรู้เลย!!EP01

โพสท์โดย Piglet ตัวน้อยแสนน่ารัก

เรื่องราวของน้ำตาลอ้อยเริ่มต้นเมื่อ

ภาพประกอบที่1จัดทำโดยคุณ Vegan Sugar

ประมาณ 5,000 ปีที่ผ่านมา เริ่มต้นที่เกาะแห่งหนึ่งในแถบโอเชียเนีย หรือเกาะนิวกินี ซึ่งในปัจจุบันคือประเทศปาปัวนิวกินี หรือรัฐเอกราชปาปัวนิวกินี เมื่อหลายพันปีที่ผ่านมาที่แห่งนี้ยังเป็นเพียงเกาะที่ยังไม่ได้ก่อตั้งเป็นประเทศเลยครับ แน่นอนว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะนั้นเป็นป่า แต่ก็ยังมีต้นไม้ป่าชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่บนเกาะและมีรสชาติที่โดดเด่นอีกด้วยครับ

 

 ภาพประกอบที่ 2 จัดทำโดยคุณ   Candice Hardwick

จนกระทั่งระยะเวลาได้ผ่านไป มีคนมา พบเห็นอ้อย (sugar cane) ซึ่งเป็นพืชในวงศ์ Gramineae และได้นำไปทดลองปลูก แต่ผลปรากฏว่าไม่สำเร็จ โดยได้เรียนรู้และศึกษา วิธีการปลูกจากต้นแอปเปิ้ลและไม้พุ่มอย่างเบอร์รี่

 

ภาพประกอบที่3จัดทำโดยคุณpasja1000

การแพร่กระจายของต้นอ้อย ข่าวต้นอ้อย (sugar cane) ได้แพร่กระจายออกไปยังทางตอนเหนือจนถึงแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย แต่ในเวลาเดียวกันก็มีนักเดินเรือชาวโพลีนีเซียเข้ามาที่เกาะและได้นำต้นอ้อยออกจากเกาะนิวกินีสู่เกาะในแถบแคริบเบียน วันเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้มาถึง..."

 

ภาพประกอบที่4จัดทำโดยคุณ 86Lemons

ปีค.ศ. 1100 ก็มีบันทึกเกี่ยวกับน้ำตาลของประเทศอินเดีย โดยเนื้อหานั้นได้พูดถึงการนำน้ำตาลไปประกอบพิธีทางศาสนา เป็นเครื่องบวงสรวงสำหรับประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์"

 

"ระยะเวลาประมาณนั้นก็น่าจะอยู่ในช่วง 500-1000 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมากในยุคนั้น ยังไม่มีการสร้างพีระมิดรุ่นแรกของชาวอียิปต์โบราณ และอ้อยยังเป็นส่วนประกอบที่สำคัญด้านความเชื่อ/พิธีกรรมที่เกี่ยวกับไฟและวัฒนธรรม

มีการคาดการณ์เกี่ยวกับพิธีกรรมนี้ว่า น้ำอ้อยที่ผ่านกระบวนการความร้อนจากของเหลวจะเริ่มตกผลึกจนเป็นเม็ดที่มีสีเข้มขึ้น ในยุคนั้นถือว่าเป็นสิ่งที่มหัศจรรย์มาก"

ในบันทึกคัมภีร์อาถรรพ์เวทนั้น ได้เรียกต้นอ้อย (sugar cane) ว่า 'ikshu' ซึ่งหมายถึงผู้ที่ต้องการและปรารถนาด้วยรสชาติที่หวานอร่อย อีกทั้งผู้คนก็เริ่มที่จะรู้จักกระบวนการผลิตน้ำตาลและเรียกกระบวนการดังกล่าวว่า 'สักการา' หมายถึงก้อนกรด

ช่วงศตวรรษที่ 10 เป็นยุคที่น้ำตาลได้รับความนิยมและแพร่กระจายออกไปวงกว้าง ตั้งแต่เมดิเตอร์เรเนียนไปถึงจีนแผ่นดินใหญ่ทางฝั่งตะวันออก ไปจนถึงในแถบยุโรปทางตอนเหนือ

 

ในสำนักก็มีชาวอียิปต์ที่เป็นหนึ่งในสมาชิกของสำนักแห่งนี้ จึงได้ทำการแจกแจงรายละเอียดการทำน้ำตาลทรายขาวให้กับสมาชิกด้วยตัวเอง

ถึงแม้จะสามารถปลูกอ้อยได้แล้ว แต่กระบวนการปลูกอ้อยนั้นไม่ได้ง่ายเลยเต็มไปด้วยอุปสรรคมากมาย ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาหรือแม้กระทั่งไฟฟ้าที่ยังไม่มีใช้กัน

เมื่อได้อ้อยมาแล้ว ก็ต้องทำการต้มเป็นเวลา 48 ชั่วโมง หรือ 2 วันนั้นเอง น้ำอ้อยจะมีสีเหลืองทองและเริ่มเกิดการแข็งตัว ต้นอ้อยนั้นมีอยู่จำนวนมากทำให้เกิดการขาดทุนได้เช่นกัน จึงต้องคิดหาวิธีการผลิตน้ำตาลให้ได้ปริมาณที่มากขึ้นกว่าเดิม รวมถึงการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับน้ำตาลและต้องคิดระบบของโรงงาน"

⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
มาเป็นคนแรกที่ VOTE ให้กระทู้นี้
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
รอยแยก "ลานหินแตก" ผาแต้ม – มหัศจรรย์ธรรมชาติแห่งอุบลราชธานีทึ่งทั่วไทย : คูเมืองเชียงใหม่ หนึ่งในสัญลักษณ์สำคัญของเมืองเชียงใหม่
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
คิมจองอึนสั่งแบนฮอตดอก ชี้เป็นภัยต่ออัตลักษณ์เกาหลีเหนือ!!!
กระทู้อื่นๆในบอร์ด อาหาร
ปลาทูผัดใบโหระพา เมนูที่ทำง่ายอร่อยแต่หาทานได้อยากข้าวหมดหม้อทุกครั้งที่ทำต้มเค็มปลาตะเพียน เมนูอาหารไทยโบรานที่อร่อยจนอยากทานซ้ำ🐠 แซลมอนเมืองไทย! ปรากฏการณ์ “ปลากอง” ที่บ้านผาสุก น่านการฟื้นคืนของอาหารกัมพูชาที่เคยสูญหายช่วงระบอบเขมรแดง**
ตั้งกระทู้ใหม่
หน้าแรกเว็บบอร์ดหาเพื่อนChatหาเพื่อน Lineหาเพื่อน SkypePic PostตรวจหวยควิซคำนวณPageแชร์ลิ้ง
Postjung
เงื่อนไขการให้บริการ ติดต่อเว็บไซต์ แจ้งปัญหาการใช้งาน แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม ข่าวประชาสัมพันธ์ ลงโฆษณา
เว็บไซต์นี้ใช้ Cookie
เพื่อประสบการณ์ที่ดีและการใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดูข้อมูลเพิ่มเติม อ่านนโยบายการใช้งาน
ตกลง