Share Facebook LINE Twitter
หน้าแรก เว็บบอร์ด Chat ตรวจหวย ควิซ คำนวณ Pageแชร์ลิ้ง
หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน กินอะไรดี
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

นักสัตววิทยาเผย!! การต้มกุ้ง-ปูทั้งเป็น ถือเป็นการทารุณกรรมสัตว์ เพราะมันมีความรู้สึกเจ็บปวดเหมือนกัน

เนื้อหาโดย chop read

          เราต่างก็มีความเชื่อว่า อาหารทะเลอย่างเช่นกุ้ง ปูมจะอร่อย ต้องสดใหม่ แต่ก็ไม่ใช่ว่าเราจะจับ กุ้ง-ปู เป็น ๆ โยงลงหม้อต้มเดือด ๆ เพราะจากงานวิจัยพบว่า กุ้งปูก็สามารถรับรู้ความเจ็บปวดได้ไม่ต่างจากมนุษย์

          สำนักพิมพ์ New York Post ของสหรัฐอเมริกา ได้รายงานข่าว โดยอ้างผลวิจัยของนักสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยโกเธนเบิร์กของสวีเดน พบว่าสัตว์น้ำเปลือกแข็งจำพวกกุ้งและปู สามารถรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดได้เมื่อพวกมันถูกนำไปต้มทั้งเป็น

          โดยการศึกษานี้ใช้การตรวจทางสรีรวิทยาไฟฟ้า (Electrophysiological) เพื่อตรวจจับการตอบสนองของร่างกายโดยธรรมชาติของปูชายฝั่ง ในขณะที่กระตุ้นด้วยสิ่งกระตุ้นที่เป็นอันตราย 2 ประเภท คือสิ่งกระตุ้นทางกลหรือสารเคมี และกรดน้ำส้ม

          นักวิจัยพบว่าปูชายฝั่งแสดงการตอบสนองในระบบประสาทส่วนกลางซึ่งบ่งบอกถึงการตอบสนองต่อความเจ็บปวดตามมาตรฐาน ร่างกายของปูชายฝั่งทุกส่วนตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด ยกเว้นหนวดซึ่งตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางเคมีเท่านั้น

          หลักการความเจ็บปวดเหล่านี้ไม่เพียงใช้ได้กับปูชายฝั่งเท่านั้น แต่ยังใช้ได้กับสัตว์น้ำเปลือกแข็งจำพวกกุ้งด้วย ซึ่งข้อค้นพบดังกล่าวทำให้ ‘เอเลฟเธอเรียส คาซิอูราส’ (Eleftherios Kasiouras) นักศึกษาปริญญาเอก ม.โกเธนเบิร์ก เรียกร้องให้ยุติการประกอบอาหารด้วยวิธีต้มปูและกุ้งแบบเป็น ๆ

          “เราเชื่อว่าการต้มสัตว์จำพวกกุ้งที่ยังมีชีวิตอยู่ควรได้รับการห้าม และควรใช้เทคนิคการปรุงอาหาร เช่น การช็อตด้วยไฟฟ้าทันทีที่จับสัตว์จำพวกกุ้งได้ มีหลักฐานมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งรวมถึงการวิจัยของเรา ที่ระบุว่าสัตว์จำพวกเดคาพอด (Decapod-สัตว์จำพวกกุ้งและปู) จะรู้สึกเจ็บปวด ดังนั้น เราจึงควรปฏิบัติต่อพวกมันเหมือนกับที่เราปฏิบัติต่อสัตว์ชนิดอื่น ๆ” คาซิอูราส กล่าว

          อย่างไรก็ตาม ปูเป็นสัตว์บริโภคเพียงชนิดเดียวที่ไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมายคุ้มครองสัตว์ ซึ่งหมายความว่าการฆ่าปูเป็นสิ่งที่ถูกกฎหมาย

          โดยองค์กรคุ้มครองสัตว์ Crustacean Compassion กล่าวว่า มีวิธีฆ่าปูที่ผิดจริยธรรมหลายวิธี เช่น การต้ม การแยกชิ้นส่วน การฆ่าด้วยไฟฟ้า การแยกส่วน การเติมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การจมน้ำจืด และการแช่เย็นทั้งแบบแห้งและแบบเปียก

เนื้อหาโดย: thecalmgirl
ขอบคุณที่มา https://vt.tiktok.com/ZSjGghdaV/
⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
chop read's profile


โพสท์โดย: chop read
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
10 VOTES (5/5 จาก 2 คน)
VOTED: เป็ดปักกิ่ง, thecalmgirl
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
รวม เลขปฏิทินจีน งวด 2/5/6810 เลขฮิต "OK ล็อตเตอรี่" งวดวันที่ 2 พฤษภาคม 68..อยากรวย ส่องได้เลย!!เปิดหน้าใหม่ ไล ไทย หนุ่มเขมร Mister Majestic 2025 หลังทุบหน้าใหม่ (ชมคลิป)เลขเด็ด สำนักดัง เเม่ทำเนียน+สลากพารวย+สลาก5ภาค+โอเคล็อตเตอรี่ งวดวันที่ 2 พฤษภาคม 2568พ่อเจอลูกชายที่หายตัวไป แต่หลังจากที่พวกเขาพบกัน ลูกชายก็บล็อกทุกอย่างต่อพ่อทันทีหัวใจสลาย! ตั๊ก บริบูรณ์ ร่ำไห้กลางรายการ หลังสูญเสีย 2 คนรักจนคิดปิดบริษัท7 เทคนิคอ่านหนังสือเสริมให้ทำจำได้ไว & ไม่เบื่อแหม่มสาวเเหกกฎ!! ขับมอเตอร์ไซต์บนเกาะกลางถนน ทำตัวอิสระเกินไปแล้วนะ 😏รู้หรือไม่? เลขบัตรประชาชนไทย 13 หลัก ไม่ได้สุ่มมั่ว ทุกหลักมีความหมาย สื่อถึงอะไรบ้างPostjung ยังน่าทำอยู่ไหม? หรือแค่ตำนานยุคเว็บบอร์ดรุ่งเรือง?
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
Postjung ยังน่าทำอยู่ไหม? หรือแค่ตำนานยุคเว็บบอร์ดรุ่งเรือง?รู้หรือไม่? เลขบัตรประชาชนไทย 13 หลัก ไม่ได้สุ่มมั่ว ทุกหลักมีความหมาย สื่อถึงอะไรบ้างแหม่มสาวเเหกกฎ!! ขับมอเตอร์ไซต์บนเกาะกลางถนน ทำตัวอิสระเกินไปแล้วนะ 😏
กระทู้อื่นๆในบอร์ด สาระ เกร็ดน่ารู้
Postjung ยังน่าทำอยู่ไหม? หรือแค่ตำนานยุคเว็บบอร์ดรุ่งเรือง?รู้หรือไม่? เลขบัตรประชาชนไทย 13 หลัก ไม่ได้สุ่มมั่ว ทุกหลักมีความหมาย สื่อถึงอะไรบ้าง“ซีเรียลอาหารเช้า...ดีจริง หรือแค่หวานเกินจริง?นักวิจัยค้นพบสัตว์ประหลาดใต้ทะเลเพียบ!
ตั้งกระทู้ใหม่
หน้าแรกเว็บบอร์ดหาเพื่อนChatหาเพื่อน Lineหาเพื่อน SkypePic PostตรวจหวยควิซคำนวณPageแชร์ลิ้ง
Postjung
เงื่อนไขการให้บริการ ติดต่อเว็บไซต์ แจ้งปัญหาการใช้งาน แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม ข่าวประชาสัมพันธ์ ลงโฆษณา
เว็บไซต์นี้ใช้ Cookie
เพื่อประสบการณ์ที่ดีและการใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดูข้อมูลเพิ่มเติม อ่านนโยบายการใช้งาน
ตกลง