Share Facebook LINE Twitter
หน้าแรก เว็บบอร์ด Chat ตรวจหวย ควิซ คำนวณ Pageแชร์ลิ้ง
หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

ประวัติความเป็นมาของไม้ขีดไฟ น่าสนใจเหมือนกันน๊า

โพสท์โดย dukedick

   

 

  ประมาณปี พ.ศ. 2370 (ต้นสมัยรัชกาลที่ 3) มีนักเคมีชาวอังกฤษชื่อ จอห์น วอล์คเกอร์ ทำไม้ขีดจากเศษไม้จุ่มปลายลงในส่วน ผสมของ แอนติโมนีซัลไฟด์โปตัสเซียมคลอเรตและกาวซึ่งทำจากยางไม้ หรือ gumarabic เมื่อนำไม้ขีดไฟขูดลงบนกระดาษทรายจะเกิดแรงเสียดสี ซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนที่ทำให้ไม้ขีดลุกเป็นไฟ ไม้ขีดแบบที่ จอห์น วอล์คเกอร์ ประดิษฐ์เป็นแบบเดียวกันกับไม้ขีดประเภท "ขีดกับอะไรก็ได้" แต่ก็ไม่สามารถยืนยันได้ว่าจะติดไฟทุกครั้ง ไม้ขีดไฟชนิดนี้เพิ่งคิดค้นได้หลังจากการประดิษฐ์ไฟแช็กถึง 4 ปี

 

        ถึงปี พ.ศ. 2373 ในประเทศฝรั่งเศส ชาร์ลส์ โซเรีย ได้คิดค้นไม้ขีดไฟที่มีปลายทำจากฟอสฟอรัสเหลือง แต่ช่วงสิ้นศตวรรษที่ 19 หัวไม้ขีดมีส่วนประกอบของฟอสฟอรัสเหลืองหรือขาวมีพิษทำให้คนงานในโรงงานผลิตไม้ขีดไฟเจ็บป่วยถึงพิการหรือเสียชีวิตด้วยโรคที่เรียกกันว่า phossy jaw นอกจากนี้ในช่วง พ.ศ. 2383 หรือปลายสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีการค้นพบฟอสฟอรัสแดงซึ่งทำให้ผลิตไม้ขีดได้อย่างปลอดภัย แต่ไฟจะติดได้ก็ต้องจุดเฉพาะพื้นที่ที่เตรียมไว้เท่านั้น ผิวสำหรับขีดอยู่ข้างกล่องไม้ขีดมีฟอสฟอรัสแดง ทาติดอยู่ ด้วยยางไม้ gumarbic หรือกาวชนิดอื่น ส่วนที่หัวไม้มีโปแตสเซียมคลอเรตซึ่งเมื่อกระทบกับ ฟอสฟอรัสแดง ก็จะเกิดปฏิกิริยาให้ความร้อนมากพอและไฟจะติดขึ้นได้ เรื่องยังมีวัสดุอื่นๆอีกที่สามารถใช้เป็นก้านไม้ขีด ไฟได้เช่น ด้ายเคลือบขี้ผึ้ง และกระดาษแข็งเคลือบขี้ผึ้ง แต่วัสดุที่ใช้ทำก้านไม้ขีดได้ดีที่สุดก็คือไม้ ลักษณะไม้ซึ่งเหมาะสำหรับทำก้านไม้ขีดควรจะเป็นไม้สีขาว ไม่มีกลิ่น เนื้อไม้ไม่แข็งหรืออ่อนเกินไป นิยมใช้ไม้มะยมป่า ไม้มะกอก ไม้อ้อยช้าง ไม้ปออกแตก เป็นต้น ก่อนจุ่มทำหัวไม้ขีดจะต้องเอาปลายก้านไม้ขีดที่จะติดหัวนั้นไปจุ่มขี้ผึ้งพาราฟินก่อน หากเนื้อไม้แข็งเกินไปก็จะไม่ดูดซึมพาราฟิน พาราฟินจะเป็นตัวส่งผ่านจากหัวไม้ขีดไปสู่ก้านไม้ขีด หากไม่มีพาราฟิน เมื่อไฟติดก็จะดับในทันที และหากเนื้อของไม้อ่อนจนเกินไปก้านไม้ขีดก็จะไม่คงรูปเป็นก้านตรงได้

 

        ปัจจุบันนี้ ด้วยเทคโนโลยีต่างๆที่เจริญขึ้นมากแล้ว แต่ไม้ขีดไฟ ก็ยังคงมีจำหน่ายอยู่ และยังสามารถใช้งานได้ดีในหลายสถานการณ์ เนื่องจากมีราคาถูกและประหยัดสะดวกในการใช้งานตามสมควร เช่น การพกไปใช้งานตามเรือกสวนไร่นาต่างๆ เพื่อจุดไฟทำอาหารแบบง่ายๆเป็นต้น

 

⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
dukedick's profile


โพสท์โดย: dukedick
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
5 VOTES (5/5 จาก 1 คน)
VOTED: thecrow
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
เปิดเหตุผลว่า ทำไมนักดับเพลิงถึงไม่ใช้น้ำทะเลดับไฟป่าที่โหมไหม้อยู่ในแอลเอขณะนี้ ทั้งๆที่อยู่ใกล้ทะเลขนาดนั้นแคปชั่น 9 แรกของปี 2568 ความหมายดี คำคม คำอวยพรวันที่ 9 เดือนแรกของปีหมอเฉลย ทำไมเนื้อหมู-ไก่ หรือปลาน้ำจืดกินดิบไม่ได้ แต่ เนื้อวัว ปลาทะเล กินได้แสงแดดยังแพ้! ดารา 7 สีอวดลุคสดใส ต้อนรับปี 2568compulsory: ภาคบังคับจิงโจ้ไม่ได้น่ารักมุ้งมิ้งอย่างที่คิด น้องแอบน่ากลัวนะริจูกัน (Rjukan): หมู่บ้านที่แสงแดดมาจากกระจกยักษ์Lifestyle Inflation กับดักชีวิต ทั้งที่มีรายได้เยอะ ยิ่งรวย แต่ยังไม่มีเงินเก็บดงพญาไฟ สู่ ดงพญาเย็น: จากตำนานความน่ากลัว สู่ ความร่มเย็นเป็นสุขอียิปต์ขุดพบซากวิหารเชื่อมโยงฟาโรห์หญิงแฮตเชปซุต พร้อมโบราณวัตถุล้ำค่าวิธีสำรวจตัวเอง ว่าเข้าข่าย “ภาวะอ้วนลงพุง” หรือไม่ ?มิตซูบิชิ มอเตอร์ส มอบเครื่องยนต์เพื่อการศึกษา สนับสนุนการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่แก่เยาวชน
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
จิงโจ้ไม่ได้น่ารักมุ้งมิ้งอย่างที่คิด น้องแอบน่ากลัวนะเคล็ดลับ!! “กลิ่นตัวหอม” น่ารัญจวนดราม่าสนั่น! ‘ผบ.นรด.’ เสนอไอเดีย “จ่ายจบ ไม่ต้องเกณฑ์” จุดกระแสถกเถียงทั่วประเทศลุงวัย 62 ถูกเมีย-ลูกเลี้ยง ไล่ออกจากบ้าน เดินเท้าเปล่ากลับบ้านที่ต่างจังหวัดกว่า 500 กม.เปิดเหตุผลว่า ทำไมนักดับเพลิงถึงไม่ใช้น้ำทะเลดับไฟป่าที่โหมไหม้อยู่ในแอลเอขณะนี้ ทั้งๆที่อยู่ใกล้ทะเลขนาดนั้น
กระทู้อื่นๆในบอร์ด สาระ เกร็ดน่ารู้
กระจ่าง!! จะรู้ได้ไงว่าตอน "ผู้หญิงน้ำพุ่ง" เป็นการหลั่งหรือปัสสาวะจิงโจ้ไม่ได้น่ารักมุ้งมิ้งอย่างที่คิด น้องแอบน่ากลัวนะกระจ่าง!! แบตเตอรี่ EV เสื่อมแล้ว ไม่ได้ทิ้งcompulsory: ภาคบังคับ
ตั้งกระทู้ใหม่
หน้าแรกเว็บบอร์ดหาเพื่อนChatหาเพื่อน Lineหาเพื่อน SkypePic PostตรวจหวยควิซคำนวณPageแชร์ลิ้ง
Postjung
เงื่อนไขการให้บริการ ติดต่อเว็บไซต์ แจ้งปัญหาการใช้งาน แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม ข่าวประชาสัมพันธ์ ลงโฆษณา
เว็บไซต์นี้ใช้ Cookie
เพื่อประสบการณ์ที่ดีและการใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดูข้อมูลเพิ่มเติม อ่านนโยบายการใช้งาน
ตกลง