7 โรคที่ประกันสังคมไม่รองรับการรักษา
ทุกคนรู้หรือไม่ว่าประกันสังคมนั้นไม่ได้คุ้มครองทุกโรค
แล้วจะมีโรคอะไรบ้างนั้นที่สำนักงานประกันสังคมไม่ได้คุ้มครอง มาดูกันเลยค่ะ
อย่างที่เราเรารู้กันอยู่ใช่ไหมค่ะว่าประกันสังคมนั้นให้ความคุ้มครองผู้ประกันตนหลายกรณี แต่ก็ยังมีข้อยกเว้น
1.การเปลี่ยนเพศ
2.การผสมเที่ยม
3.การรักษาตัวแบบการพักฟื่นอยู่ที่บ้าน
4.การตรวจที่ไม่จำเป็นต่อการรักษาโรค
5.การรักษาภาวะมีบุตรยาก
6.โรคที่ทำการศึกษาที่อยู่ในขั้นตอนการทดลอง
7.การศัลยกรรมความงามที่ไม่ได้บ่งชี้จากแพทย์
สิทธิ์การรักษาที่ประกันสังคมรับรอง
ถึงจะบอกแบบนั้นแต่ยังไงก็ตามประกันสังคมยังคุ้มครองผู้ประกันตนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้
1.ผู้ป่วยทางจิต
2.ผู้ป่วยที่เกิดจากโรคของสารเสพติด
3.โรคที่มีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง
4.โรคที่คนไข้เข้ารับการรักษามากกว่า 180 วันใน 1ปี
5.โรคที่ผู้ป่วยเป็นทั้งไตวายเฉียบพลันหรือไตวายระยะสุดท้าย
6.การปลูกถ่ายอวัยวะ เช่น ปลอด หัวใจ ไต
7.การตรวจเนื้อเยื่อ
การใช้สิทธิ์ด้านทันตกรรม
เป็นที่รู้กันใช่ไหมค่ะว่าประกันสังคมนั้นให้ค่ารักษาเกี่ยวกับทันตกรรมอยู่ที่ 900 บาทต่อปี
ที่ทุกคนนั้นสามารถเข้าไปใช้สิทธิ์ของตัวเองได้เลยไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลหรือคลีนิคก็ได้ เช่น การอุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน ผ่าฝันคุด รวมถึงการไปใส่รากเทียม และไม่ต้องสำรองจ่ายทั้งนี้ทั้งนั้นผู้ประกันตนสามารถเข้าไปใช้สิทธิ์ ได้ทั้ง โรงพยาบของรัฐ โงพยาบาลของเอกชน หรือ คลีนิก ที่ลงทะเบียนกับทางรัฐไว้
กรณีแว่นตา
สำหรับผู้ที่เป็นต้อกระจกแล้วจำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัดเอาเลนส์แก้วออก ในกรณีที่คนไข้ไม่ได้ใส่แก้วตาเทียมคนไข้สามารถขอใช้สิทธิ์ทำแว่นตากับประกันสังคมได้
จากข้อความทั้งหมดนี้จะเห็นได้วามีแค่ 7 โรคเท่านั้นที่ประกันสังคมมีข้อยกเว้น
แต่ถึงอย่างนั้นก็ยังรองรับการรักษาอีกหลายรูปแบบเพื่อลดความเลื่อมล้ำทางการรักษาพยาบาลและยังเข้าถึงผู้ที่ใช้สิทธิ์ประกันสังคมได้อย่างครอบคุม
ถ้าหากอ่านแล้วคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์ต่อผู้ประกันตนทั้งหลายสามารถแชร์บอกกันต่อๆไปได้นะค่ะ








