อยากว่าถามว่าการที่ทอและสลักผ้านุ่งไทยเช่น ผ้าถุง ผ้าโสร่งผ้าโจงกะเบนและผ้าซิ่นให้มีลายขึ้นมันสื่อถึงอะไรแล้วมีที่มายังไง
นั่นแหละที่ต้องการจะถามว่าวัฒนธรรมทางบ้านเราการที่ชาวบ้าน หรือชาวท้องถิ่น ที่เป็นปราชญ์ เป็นนักอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น นี่เขาสลักหรือสร้างลายบนผ้านุ่งขึ้นเพื่อแสดงถึงนัยยะอะไรทางขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม อย่างเช่นบ้างที่ถักลายที่เรียบง่ายและไม่ฉูดฉาด กับคนบางกลุ่มถักลายที่มันมีสีสัน ฉูดฉาด ยกตัวอย่าง ผ้าซิ่น นี่ทางลาว และทางอีสาน ลายก็ต่างกัน เนื้อผ้าบางทีอาจต่างกัน แม้แต่ทางอีสานอย่างทางหนองคายที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมของลาวเวียงจันทน์เอง จะมีผ้าลายแบบชาวบ้านฉูดฉาดนิดนึง แบบกลางๆไม่มาก กับลายคนมีกินจะมีลายต่างกันออกไปตรงนี้มันเกี่ยวกันหรือไม่ ที่ว่าฐานะต่างจะทำให้ลายแตกต่างกันออกไป เพราะทางหนองคายเห็นวัยกลางคนบางคนที่ดูมีฐานะจะนิยมนุ่งซิ่นลายคล้ายๆทางเวียงจันทน์ การที่ลายเนื้อผ้าต่างกันมันสื่อถึงอะไรบ้างครับ
เอามาให้ชมเป็นตัวอย่างฮะ
ส่วนของรูปส่วนตัวของผมเอง
ส่วนอันนี้เป็นของกลุ่มเด็จแม่ผมเองฮะ 5555+(เด็จแม่ผมเสื้อฟ้า)
ต่อๆของเด็จแม่
อีกสองรูปฮะเด็จแม่
............................................................................
มาต่อที่ฝั่งแม่หญิงลาวโด่ย
...........................................................................................................................
และแล้วก็ปิดท้ายด้วยผ้าซิ่นทางอีสาน
https://www.google.co.th/search?q=แม่หญิงลาว&biw=1920&bih=935&source=lnms&tbm=isch&sa=X&sqi=2&ved=0ahUKEwjx8oeqw5POAhWFvo8KHU5VBsUQ_AUIBigB
https://www.google.co.th/search?q=แม่หญิงลาว&biw=1920&bih=935&source=lnms&tbm=isch&sa=X&sqi=2&ved=0ahUKEwjx8oeqw5POAhWFvo8KHU5VBsUQ_AUIBigB#tbm=isch&q=สาวลาว
https://www.google.co.th/search?q=แม่หญิงลาว&biw=1920&bih=935&sour