หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

น้ำมันปลา กับ น้ำมันตับปลา ต่างกันอย่างไร?

โพสท์โดย อับดุล รอเเย๊ะส์

เคยสงสัยกันมั๊ยครับว่า น้ำมันปลา กับ น้ำมันตับปลา ที่เค้าเรียกกันอยู่ทุกๆวันนี่
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?

อันที่จริงแล้ว น้ำมันปลา สกัดได้จาก ส่วนหัวและเนื้อของปลาทะเลน้ำลึก เช่น แซลมอน ทูน่า ให้กรดไขมันไม่อิ่มตัวในกลุ่มโอเมก้า 3 ซึ่งประกอบไปด้วย

ดีเอชเอ (DHA) มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสมอง เพิ่มการเรียนรู้และจดจำลดความเสี่ยงในการเกิดโรคอัลไซเมอร์

อีพีเอ ( EPA ) มีส่วนช่วยในการลดไตรกลีเซอไรด์ในเลือดลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ลดการอักเสบในโรคข้อต่าง ๆ.......

ส่วน น้ำมันตับปลา สกัดได้จากส่วนเฉพาะของตับปลาให้วิตามินเอและวิตามินดีสูงซึ่งทำหน้าที่ในการบำรุงร่างกายทั่วไป

แล้วท่านทราบหรือไม่ว่าการที่เราทานน้ำมันปลา จะไม่ทำให้อ้วนด้วยน่ะเออ... เนื่องจากน้ำมันปลาแตกต่างจากน้ำมันอื่น ๆ เนื่องจากเป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวในส่วน EPA ซึ่งนอกจากไม่ทำให้อ้วนแล้ว ยังมีส่วนในการช่วยลดระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือด หรือ ไขมันที่ไม่ดีชนิดหนึ่งอีกด้วยครับ.....

วันหลังถ้าไปเลือกซื้อ ก็ลองสังเกตุดีๆน่ะครับ ว่าเป็นน้ำมันปลา หรือน้ำมันตับปลากันแน่ ถึงแม้ว่าชื่อจะคล้ายกัน แต่ประโยขน์ก็แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงน่ะครับผม

 ความรู้รอบหัว

⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
เงินดิจิทัล 10,000 บาท เฟส 3 มาแน่! คนทั่วไปรับผ่านดิจิทัลวอลเล็ต กระตุ้นเศรษฐกิจปี 2568วันสุดท้ายแล้วสำหรับงานกาชาด 2567 ร้อนแรงทะลุสวนลุม! "ตำรวจตกน้ำ" ไฮไลต์เด็ดที่ทุกคนต้องไม่พลาดเพจดังเปิดภาพพระสงฆ์ ควงแขนผู้ชาย ชาว เน็ตวิจารณ์ยับ
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
เฮ! เงินไร่ละพันยังมาต่อเนื่อง! ชาวนารับเงินช่วยเหลือ ธ.ก.ส. กันอยู่หรือเปล่า? มาอัปเดตกันหน่อย!รีบมา! คืนนี้วันสุดท้ายแล้ว "ตำรวจตกน้ำ" ไวรัลสุดเสียวกาชาด 2567 หล่อ เปียก ฮา พุ่งกระจาย!
ประโยชน์ของชาเขียวโครงการช่วยเหลือให้เกิดสภาพคล่องของเศรษฐกิจรู้หรือไม่? แก๊งคอลเซ็นเตอร์มักใช้ข้อมูลอะไรหลอกลวงคุณแผนที่ที่เก่าแก่ที่สุดของยุโรปอายุ 4,000 ปี
ตั้งกระทู้ใหม่