หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม แต่งรูป คำคม Glitter สเปซ ไดอารี่ เกมถอดรหัสภาพ เกม วิดีโอ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

ทำไมชื่อเดือนต้องลงท้ายด้วย ‘ยน’และ‘คม’

ทำไมชื่อเดือนต้องลงท้ายด้วย ‘ยน’และ‘คม’

ทำไมชื่อเดือนต้องลงท้ายด้วย ‘ยน’และ‘คม’

 

เชื่อว่าต้องมีหลายคนที่สงสัยเกี่ยวกับชื่อของแต่ละเดือน และคำลงท้ายด้วยคำว่า ยน และ คำว่า คม 

 

ต้องย้อนกลับไปไกลถึง พ.ศ. 2432 กันเลยค่ะ เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5)

ทำไมชื่อเดือนต้องลงท้ายด้วย ‘ยน’และ‘คม’

ทรงประกาศใช้ปฏิทินแบบใหม่ตามสุริยคติตามแบบสากล (จากเดิมที่ประเทศไทยใช้แบบจันทรคติ คือปฏิทินที่นับตามคติการโคจรของดวงจันทร์ โดยหมายดูจากปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรม)

 

มีการกำหนดแบ่งให้หนึ่งปีมี 12 เดือน ในแต่ละเดือนก็จะมี 28-31 วัน ตามปฏิทินสากล 

 

ซึ่งการตั้งชื่อเดือนในครั้งนั้นกำหนดเดือนแรกของปีคือ เดือนเมษายน จนถึงเดือนสุดท้ายของปีคือเดือนมีนาคม ซึ่งยังคงใช้รัตนโกสินทรศกเป็นชื่อปีอย่างเป็นทางการ โดยใช้ 1 เมษายน ร.ศ.108 แทนที่ 1 เมษายน พ.ศ.2432 จนกระทั่งเลิกใช้ปีรัตนโกสินทรศกที่ 131 จึงได้เปลี่ยนมาใช้ปีพุทธศักราชอย่างเป็นทางการ โดยปีพุทธศักราชแรกที่ใช้คือปีพ.ศ.2456

ทำไมชื่อเดือนต้องลงท้ายด้วย ‘ยน’และ‘คม’

 

แล้วการตั้งชื่อเดือน ตั้งจากอะไร?

 

คำตอบคือ การตั้งชื่อเดือนนั้นทรงมีการตั้งโดยใช้ตำราจักรราศี ซึ่งแสดงการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ในหนึ่งปีตามวิชาโหราศาสตร์ โดยทรงนำคำสองคำมาสนธิกัน คำต้นเป็นชื่อราศีที่ปรากฏในช่วงเวลานั้น รวมกับคำว่า “อาคม” หรือ “อายน” ที่แปลว่า “การมาถึง” โดยได้ระบุวันอย่างชัดเจน คือ คำว่า คม สำหรับเดือนที่มี 31 วัน และ คำว่า ยน สำหรับเดือนที่มี 30 วัน (ยกเว้นเดือนกุมภาพันธ์ที่มี 28 หรือ 29 วัน ถ้าเป็นปีอธิกสุรทิน)

 

  1. มกราคม อักษรย่อ ม.ค. อ่านว่า มะ-กะ-รา-คม รากศัพท์มาจาก มกร+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีมกร (มังกร)
  2. กุมภาพันธ์ ย่อ ก.พ. อ่านว่า กุม-พา-พัน รากศัพท์มาจาก กุมภ+อาพันธ์ แปลว่า การมาถึงของราศีกุมภ์ (หม้อ)
  3. มีนาคม ย่อ มี.ค. อ่านว่า มี-นา-คม รากศัพท์มาจาก มีน+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีมีน (ปลา)
  4. เมษายน ย่อ เม.ย. อ่านว่า เม-สา-ยน รากศัพท์มาจาก เมษ+อายน การมาถึงของราศีเมษ (แกะ)
  5. พฤษภาคม ย่อ พ.ค. อ่านว่า พรึด-สะ-พา-คม รากศัพท์มาจาก พฤษภ+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีพฤษภ (วัว, โค)
  6. มิถุนายน ย่อ มิ.ย. อ่านว่า มิ-ถุ-นา-ยน รากศัพท์มาจาก มิถุน+อายน แปลว่า การมาถึงของราศีมิถุน (ชายหญิงคู่)
  7. กรกฎาคม ย่อ ก.ค. อ่านว่า กะ-ระ-กะ-ดา-คม รากศัพท์มาจาก กรกฎ+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีกรกฎ (ปู)
  8. สิงหาคม ย่อ ส.ค. อ่านว่า สิง-หา-คม รากศัพท์มาจาก สิงห+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีสิงห์ (สิงห์)
  9. กันยายน ย่อ ก.ย. อ่านว่า กัน-ยา-ยน รากศัพท์มาจาก กันย+อายน แปลว่า การมาถึงของราศีกันย์ (สาวพรหมจารี)
  10. ตุลาคม ย่อ ต.ค. อ่านว่า ตุ-ลา-คม รากศัพท์มาจาก ตุล+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีตุล (ตาชั่ง)
  11. พฤศจิกายน ย่อ พ.ย. อ่านว่า พฺรึด-สะ-จิ-กา-ยน รากศัพท์มาจาก พฤศจิก+อายน แปลว่า การมาถึงของราศีพิจิก (แมงป่อง)
  12. และ ธันวาคม ย่อ ธ.ค. อ่านว่า ทัน-วา-คม รากศัพท์มาจาก ธนู+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีธนู (ธนู)
  13. มกราคม อักษรย่อ ม.ค. อ่านว่า มะ-กะ-รา-คม รากศัพท์มาจาก มกร+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีมกร (มังกร)
  14. กุมภาพันธ์ ย่อ ก.พ. อ่านว่า กุม-พา-พัน รากศัพท์มาจาก กุมภ+อาพันธ์ แปลว่า การมาถึงของราศีกุมภ์ (หม้อ)
  15. มีนาคม ย่อ มี.ค. อ่านว่า มี-นา-คม รากศัพท์มาจาก มีน+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีมีน (ปลา)
  16. เมษายน ย่อ เม.ย. อ่านว่า เม-สา-ยน รากศัพท์มาจาก เมษ+อายน การมาถึงของราศีเมษ (แกะ)
  17. พฤษภาคม ย่อ พ.ค. อ่านว่า พรึด-สะ-พา-คม รากศัพท์มาจาก พฤษภ+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีพฤษภ (วัว, โค)
  18. มิถุนายน ย่อ มิ.ย. อ่านว่า มิ-ถุ-นา-ยน รากศัพท์มาจาก มิถุน+อายน แปลว่า การมาถึงของราศีมิถุน (ชายหญิงคู่)
  19. กรกฎาคม ย่อ ก.ค. อ่านว่า กะ-ระ-กะ-ดา-คม รากศัพท์มาจาก กรกฎ+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีกรกฎ (ปู)
  20. สิงหาคม ย่อ ส.ค. อ่านว่า สิง-หา-คม รากศัพท์มาจาก สิงห+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีสิงห์ (สิงห์)
  21. กันยายน ย่อ ก.ย. อ่านว่า กัน-ยา-ยน รากศัพท์มาจาก กันย+อายน แปลว่า การมาถึงของราศีกันย์ (สาวพรหมจารี)
  22. ตุลาคม ย่อ ต.ค. อ่านว่า ตุ-ลา-คม รากศัพท์มาจาก ตุล+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีตุล (ตาชั่ง)
  23. พฤศจิกายน ย่อ พ.ย. อ่านว่า พฺรึด-สะ-จิ-กา-ยน รากศัพท์มาจาก พฤศจิก+อายน แปลว่า การมาถึงของราศีพิจิก (แมงป่อง)
  24. และ ธันวาคม ย่อ ธ.ค. อ่านว่า ทัน-วา-คม รากศัพท์มาจาก ธนู+อาคม แปลว่า การมาถึงของราศีธนู (ธนู)

 

แล้วปีอธิกสุรทิน คืออะไร ก็คือปีที่มีการเพิ่ม 1 วันเข้าไปเพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์ หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น

เนื้อหาโดย: Fehumo888
⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
Fehumo888's profile


โพสท์โดย: Fehumo888
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
5 VOTES (5/5 จาก 1 คน)
VOTED: คุกกี้ๆๆ ปรุ๊ดๆ ปะรุ๊ด ปรุ๊ด ปรู๊ดดดด
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
เปิดบ้านซุปตาร์ "ลิซ่า BLACKPINK" ที่เกาหลีใต้ มูลค่ากว่า 200 ล้าน..ฉลองวันเกิดครบ 27 ปีระทึก! เรือยักษ์บรรทุกสินค้าชนสะพานถล่ม ทำให้มีผู้คนและรถยนต์จำนวนมากตกลงสู่แม่น้ำเบื้องล่างยิ้มอ่อนกับเขมรรายวัน : สื่อและคนเขมรดราม่ากันเอง อยากให้มีการจัดสงกรานต์ แต่อยากจะแบนไม่ให้มีการเล่นปืนฉีดน้ำกัน เนื่องจากปืนฉีดน้ำ เป็นการแสดงวัฒนธรรมไทย (What?)สาวสั่งอาหารผ่านแอพฯ แต่ไรเดอร์แชทบอกเธอให้เปลี่ยนร้าน เพราะร้านนี้สกปรกมาก 😌😀 มาดูสถานการณ์ง่ายๆ ในชีวิตประจำวันที่จะทำให้เรารู้สึกพึงพอใจ 😊รวบแล้ว 1 มือวางเพลิงป่วนใต้10 เคล็ดลับในการฮีลใจตัวเอง สามารถทำได้อย่างไรบ้าง มาดูกันจ้า“กางเกงท้องถิ่นไทย” คุณประโยชน์ด้าน Sustainable Fashion
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
รวบแล้ว 1 มือวางเพลิงป่วนใต้10 เคล็ดลับในการฮีลใจตัวเอง สามารถทำได้อย่างไรบ้าง มาดูกันจ้าประเทศในทวีปเอเชีย ที่มีมูลค่าการส่งออกทองคำมากที่สุด
กระทู้อื่นๆในบอร์ด สาระ เกร็ดน่ารู้
“กางเกงท้องถิ่นไทย” คุณประโยชน์ด้าน Sustainable Fashionปัญหาใหญ่ที่สุดในลาวตอนนี้ ที่อาจจะไม่สามารถเเก้ไขได้disgusting: น่าขยะแขยง น่ารังเกียจประเทศที่ระบบการศึกษา มีมาตรฐานดีเยี่ยมมากที่สุดในปัจจุบัน
ตั้งกระทู้ใหม่