นาซา โชว์ผลงาน ประสบความสำเร็จในการทดลองผลิต "ออกซิเจน" บนดาวอังคาร โดยครั้งแรกนี้ใช้หายใจได้ 100 นาที
🥶นาซา โชว์ผลงาน ประสบความสำเร็จในการทดลองผลิต "ออกซิเจน" บนดาวอังคาร โดยครั้งแรกนี้ใช้หายใจได้ 100 นาที
🤢นาซาผลิตออกซิเจนบนดาวอังคารสำเร็จเป็นครั้งแรก หายใจได้ 100 นาที
🥴เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่นาซ่าประสบผลสำเร็จในการทดลองผลิตออกซิเจน
บนดาวอังคารได้ประสบผลสำเร็จเป็นครั้งแรก ..คิดว่าต่อๆไปก็จะทำให้ระยะการผลิตอากาศหายใจเอาออกซิเจนที่ผลิตออกมาสามารถนำไปใช้
ได้หลายนาทีขึ้นจากเดิมครั้งแรกนี้ใช้หายใจได้ 100 นาที
วิทยาการต่างๆได้ก้าวหน้าไปไกลมากนะครับคิดจะไปอยู่ดาวอังคารก็ต้องเสี่ยงหน่อยนะครับถ้าใครคิดจะไปตั้งถิ่นฐานเป็นพวกแรกๆคนดาวอังคารแต่ก็ยังว่าล่ะครับความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์มันมีไม่มีที่สิ้นสุดเท่าที่ทุกสิ่งทุกอย่างจะเป็นไปได้
โดยเฉพาะทีมนักวิทยาศาสตร์ของนาซามีแผนจะสร้างอุปกรณ์ MOXIE ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อให้ผลิตออกซิเจนได้มากพอรองรับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในระยะยาวบนดาวอังคาร
🤠เรามาเข้าเรื่องของข่าวนี้กันเลยดีกว่านะครับ
การทดลองขนาดเล็กขององค์การนาซาเพื่อผลิตออกซิเจนบนดาวอังคาร ประสบความสำเร็จอย่างงดงามในขั้นแรก โดยอุปกรณ์ทดสอบใช้ทรัพยากรในสถานที่จริง MOXIE ซึ่งติดตั้งอยู่กับหุ่นยนต์สำรวจ “เพอร์เซเวียแรนซ์” (Perseverance rover) สามารถเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นออกซิเจนสำหรับหายใจได้รวม 100 นาที หลังจากการทดสอบเดินเครื่องเป็นเวลาหลายชั่วโมง
🤔เมื่อปีที่แล้วมีการทดลองใช้งานอุปกรณ์ MOXIE ซึ่งมีลักษณะเป็นกล่องขนาดเล็กเท่าเครื่องปิ้งขนมปังทั้งสิ้น 7 รอบ โดยเดินเครื่องรอบละ 1 ชั่วโมง ทำให้ผลิตออกซิเจนออกมาในขั้นแรกได้เฉลี่ยรอบละ 6 กรัม สามารถใช้เป็นอากาศสำหรับมนุษย์หายใจได้รอบละ 15 นาทีซึ่งเทียบเท่ากับที่ต้นไม้ขนาดเล็กผลิตได้บนโลก
😬การทดลองดังกล่าวสามารถผลิตออกซิเจนได้ทั้งหมด 50 กรัม คิดเป็นอากาศที่ใช้หายใจได้รวม 100 นาที โดยอุปกรณ์นี้สามารถเดินเครื่องได้ในทุกสภาพอากาศที่แปรปรวนอย่างรุนแรงของดาวอังคาร ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิที่แตกต่างกันถึงกว่า 100 องศาเซลเซียสในฤดูกาลต่าง ๆ หรือในเวลาที่มีพายุทรายพัดกระหน่ำ
💢ยานสำรวจ “เพอร์เซเวียแรนซ์” / NASA
สำหรับการทำงานของ MOXIE นั้น ใช้วิธีดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีอยู่มากถึง 96% ในบรรยากาศของดาวอังคารเข้ามา เพื่อแยกอะตอมออกซิเจนในคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกไปเป็นอากาศหายใจ 1 อะตอม และปลดปล่อยคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นของเสียออกมา
หลังจากประสบความสำเร็จในขั้นแรก ทีมนักวิทยาศาสตร์ของนาซามีแผนจะสร้างอุปกรณ์ MOXIE ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อให้ผลิตออกซิเจนได้มากพอรองรับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในระยะยาวบนดาวอังคาร และเพื่อให้ผลิตออกซิเจนได้มากพอเป็นเชื้อเพลิงขับดันจรวดสำหรับการเดินทางกลับสู่โลกด้วย
🥶อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องปรับปรุงให้อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถรักษาระดับอุณหภูมิภายใน และทนทานต่อสภาพอากาศที่แปรปรวนของดาวอังคารได้มากขึ้น ทั้งยังต้องสามารถเดินเครื่องติดต่อกันเป็นเวลาอย่างน้อย 400 ชั่วโมง เพื่อให้ผลิตอากาศหายใจได้เพียงพอสำหรับการตั้งฐานที่มั่นของมนุษย์อวกาศในอนาคตอันใกล้
🤢สำหรับการทำงานของ MOXIE นั้น ใช้วิธีดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีอยู่มากถึง 96% ในบรรยากาศของดาวอังคารเข้ามา เพื่อแยกอะตอมออกซิเจนในคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกไปเป็นอากาศหายใจ 1 อะตอม และปลดปล่อยคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นของเสียออกมา
😇หลังจากประสบความสำเร็จในขั้นแรก ทีมนักวิทยาศาสตร์ของนาซามีแผนจะสร้างอุปกรณ์ MOXIE ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อให้ผลิตออกซิเจนได้มากพอรองรับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในระยะยาวบนดาวอังคาร และเพื่อให้ผลิตออกซิเจนได้มากพอเป็นเชื้อเพลิงขับดันจรวดสำหรับการเดินทางกลับสู่โลกด้วย
อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องปรับปรุงให้อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถรักษาระดับอุณหภูมิภายใน และทนทานต่อสภาพอากาศที่แปรปรวนของดาวอังคารได้มากขึ้น ทั้งยังต้องสามารถเดินเครื่องติดต่อกันเป็นเวลาอย่างน้อย 400 ชั่วโมง เพื่อให้ผลิตอากาศหายใจได้เพียงพอสำหรับการตั้งฐานที่มั่นของมนุษย์อวกาศในอนาคตอันใกล้
🥴คาดว่าอุปกรณ์ MOXIE รุ่นต่อไป จะมีขนาดใหญ่ขึ้นประมาณ 1 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งจะยังไม่เป็นปัญหาต่อการขนส่งจากโลก แต่ทีมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรของนาซาจะต้องคิดแก้ปัญหา ในเรื่องการควบคุมให้อุปกรณ์ร้อนขึ้นอย่างสม่ำเสมอและไม่แตกหักเสียหายจากการเปลี่ยนแปลงฉับพลันของอุณหภูมิในสิ่งแวดล้อม
🤠สาระข้อมูลเพิ่มเติม
ออกซิเจน (อังกฤษ: Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพืช
แหล่งกำเนิด
ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญและมีปริมาณเป็นอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลกคือมีประมาณ 20.947% โดยปริมาตร
👻สารประกอบออกซิเจน
เนื่องด้วยค่า อิเล็กโตรเนกาติวิตี ของออกซิเจน จะเกิด พันธะเคมี กับธาตุอื่น ๆ ได้เกือบหมด (และนี่คือจุดเริ่มต้นของคำจำกัดความว่า ออกซิเดชัน) มีเพียงก๊าซมีตระกูลเท่านั้นที่หนีรอดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันไปได้ และออกไซด์ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คือ ไดไฮโดรเจนโมโนออกไซด์ หรือ น้ำ (H2O).
สารประกอบออกซิเจนกับธาตุต่างๆ
น้ำ (Water-H2O)
ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide-H2O2)
สนิม (iron oxide-Fe2O3)
คาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide-CO2),
แอลกอฮอล์ (alcohol-R-OH),
อัลดีไฮด์ (aldehyde-R-CHO),
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid-R-COOH).
ซิลิเกต (SI1O1)
คลอเรต (chlorate-ClO3−),
เปอร์คลอเรต (perchlorate-ClO4−),
โครเมต (chromate-CrO42−),
ไดโครเมต (dichromate-Cr2O72−),
เปอร์แมงกาเนต (permanganate-MnO4−), and
ไนเตรต (nitrate-NO3−) เป็นออกซิไดซิ่งเอเจนต์อย่างแรง
โอโซน (Ozone-O3) เกิดขึ้นโดยการปลดปล่อยไฟฟ้าสถิตที่อยู่ในโมเลกุลของออกซิเจน 2 โมเลกุลของออกซิเจน (O2) 2 ซึ่งพบในส่วนประกอบย่อยของออกซิเจนเหลว
อีป๊อกไซด์ (Epoxide) เป็น อีเทอร์ ซึ่งออกซิเจนอะตอมเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน 3 อะตอม
สารคอปเปอร์ซัลเฟต (CUSO4)
อ้างอิงจาก: วิกิพีเดีย google และ YouTube