ปลาสว่ายที่คนไทยมองข้ามแต่มีประโยชน์กว่าปลาทะเลทั่วไปสะอีก
ปลาสว่ายเป็นปลาที่คนไทยมาองข้าม
ปลาสว่ายมีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศน์ในทะเลและแม่น้ำ นอกจากการเป็นอาหารให้กับสัตว์น้ำชนิดอื่น อาศัยอยู่มรแม่น้ำหรือตามคลองใหญ่
คนหลายคนไม่กลิ่นเพราะกลิ่นที่คาวของสว่าย มาดูวิธีกำจัดกลิ่นคาวกัน
ปลาสว่ายนั้นมีเส้นคาวสองเส้น ต้องดึงออกก่อน จะอยู่บริเวณที่วงให้ในรูปทั้งสองข้าง เมื่อนำออกมาแล้วให้ล้างน้ำส้มสายชูหรือล้างด้วยเกลือเอาเมือกและเลือดออกให้หมด กลิ่นคาวจะหมดไปเหมือนปลาทั่วไปถ้ามีเมือกหรือเลือดปลาจะตาวตอนทำอาหารได้
มาดูประโชยน์ทางโภชนาการของปลาส่ายกันที่คนคาดไม่ถึงแล้วยังมองข้าม
ปลาสว่ายมีโอเม้ก้า3ที่สูงมากสูงกว่าปลาทะเลหลายชนิดสะอีก
ลำดับที่ ชนิดปลา ปริมาณโอเมก้า 3 (มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม) 1 ปลากระพงแดง 459 2 ปลากระพงขาว 360 3 ปลาจะละเม็ดขาว 430 4 ปลาช่อน 1,052 5 ปลาดาบเงิน 516 6 ปลาดุกอุย 258 7 ปลาทู 1,636 8 ปลาน้ำดอกไม้ 765 9 ปลาเนื้ออ่อน 622 10 ปลาสวาย 2,111 11 ปลาอินทรีย์ 882จะเห็นๆได้ว่าจากตารางสารอาหารที่ได้นั้นสูงที่สุดในต่อปริมาณน้ำหนักที่เรากิน แต่คนไทยหลายคนมองข้ามไป
อันนี้ขออ้างบทความของโรงบาลเลยแล้วกันเพื่อหลายคนไม่เชื่อ ขอมูลจากโรงบาลราชวิถี
กรมอนามัย เผยข้อมูลเปรียบเทียบ’ปลาสวาย’กรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงกว่าปลาน้ำจืดชนิดอื่น นักโภชนาการชี้ เป็นทางเลือกคนไทยไม่ต้องกินของแพง
นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการโภชนาการ ที่ปรึกษากรมอนามัย กล่าวถึงข้อมูลในสังคมออนไลน์เกี่ยวกับ “ปลาสวาย” มีกรดไขมันโอเมก้า 3 สูงมากกว่า ปลาทะเลน้ำลึกอย่างปลาแซลมอนว่า ข้อมูลตารางคุณค่าทางอาหารในปลาน้ำจืดของไทยนั้น เบื้องต้นในเรื่องกรดไขมันไม่อิ่มตัว อย่างโอเมก้า 3 พบว่า ปลาสวาย เป็นปลาที่มีไขมันชนิดนี้มากกว่าปลาอื่นๆ โดยมีทั้งในเนื้อปลาและ ในไข่ปลา โดยเฉพาะในไข่ปลาจะพบมากที่สุด อย่างไรก็ตาม แต่ไม่มีการเปรียบเทียบว่า ปลาสวายมี โอเมก้า 3 มากกว่าปลาทะเลน้ำลึกอย่างปลาแซลมอนหรือไม่ อย่างไรก็ตาม แต่ข้อควรระวังคือ สำหรับปลาสวายจะเห็นได้ว่าลักษณะของปลามีไขมันมาก แต่พบว่าส่วนใหญ่เป็น ไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ดี แต่ปัญหาคือ ไม่ใช่ว่าปลาทุกชนิดที่มีไขมันในตัวเองมากแล้วจะเป็นไขมันไม่อิ่มตัว ทั้งหมด ดังนั้น การรับประทานก็ต้องระมัดระวัง สิ่งสำคัญ คือ เมื่อพบว่าปลาน้ำจืดของไทยมีกรดไขมันโอเมก้า 3 สูง ก็ถือว่าเป็นทางเลือกที่ดีที่ไม่ต้องรับประทานปลาทะเล น้ำลึกนำเข้าจากต่างประเทศ เนื่องจากปลาของไทยย่อมมีราคาถูกกว่า
ด้าน พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า ปกติแล้วการ รับประทานไม่ว่าเนื้อสัตว์ชนิดใดก็ตาม หรือแม้แต่ปลา ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารมาก แต่ไม่ใช่ว่าจะต้องรับประทานอย่างนั้นเพียงอย่างเดียว เนื่องจากหลักการโภชนาการที่ดีคือ ต้องบริโภคให้หลากหลายและบริโภคให้ครบ 5 หมู่ตามคุณค่าทางอาหารที่ร่างกายควรได้รับ
ผู้สื่อข่าวถามว่านอกจากเรื่องโอเมก้าแล้ว ยังมีคำถามว่าหากกินปลาแซลมอนต้องเลือก สีสดหรือสีจาง จึงจะปลอดภัย พญ.นภาพรรณกล่าวว่า ควรเลือกสีที่ไม่สดหรือจางจนเกินไป เนื่องจากสีสดมากๆ จนน่ากลัว เบื้องต้นผู้บริโภคไม่มีทางทราบว่า เป็นเพราะผสมสีชนิดใด หรือเป็นสีผสมอาหาร ก็ไม่มีทางทราบ ขณะที่ หากเลือกสีจางๆ ก็ใช่ว่าจะดี เนื่องจากสีซีดมากๆ แสดงว่ามีไขมันสูง ทำให้ความเข้มจางลง การกินอะไรที่มีไขมัน สูงมากๆ ย่อมไม่ดีเช่นกัน
ทั้งนี้ สำหรับกรดไขมันโอเมก้า 3 จะมีดีเอชเอ ซึ่งช่วยในเรื่องจอประสาทตาและเซลล์สมอง ดังนั้น ดีเอชเอจึงมีความสำคัญมากต่อสตรีในระยะตั้งครรภ์และมารดาในระยะให้นมบุตร ที่ช่วยให้สมองทารกพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์
เป็นข้อมูลจากโรงบาลราวิถี https://www.rajavithi.go.th/rj/?p=2075
อย่าไรก็ตามคนไทยไม่ค่อยสนใจปลาสว่ายกันทั้งที่มันมีคุณค่าทางอาหารสูง
ปลาสว่ายจึงไม่ค่อยมีคนนิยมเลียงเพราะไม่เป็นที่ต้องการของตลาด จะเลียงขายให้กับโรงงานทำอาหารสัตว์สะส่วนใหญ่จึงมีคนนิยมเลียงที่น้อยมาก ทั้งที่ปลาสว่ายเป็นปลาที่โตไวเลียงง่ายทนต่อสภาพอากาศ เนื้อเยอะกว่าปลาทั่วไปหลายเท่า และสารอาหารที่เยอะหลายเท่าตัว
ลักษณะปลาสว่าย
-
ลักษณะทั่วไป: ปลาสว่ายมีลำตัวยาวและเรียวเรียง ประกอบด้วยส่วนหัว ลำตัว และหาง ส่วนมากจะมีครีบที่เป็นเส้นใหญ่เพื่อการเคลื่อนที่ในน้ำ อวัยวะสำคัญอีกอย่างคือครีบหางซึ่งช่วยในการพุ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยพลังงานจากกล้ามเนื้อ.
-
การเคลื่อนที่: ปลาสว่ายเคลื่อนที่ด้วยการส่งความเร็วของน้ำผ่านครีบ ซึ่งครีบจะสร้างแรงดันในน้ำและนำไปสู่การเคลื่อนที่ รูปแบบการเคลื่อนที่ของปลาสว่ายสามารถแตกต่างกันไปตามชนิดของปลาและสภาพแวดล้อมที่พบ.
-
การหาอาหาร: ปลาสว่ายมีลักษณะการหาอาหารที่แตกต่างกันไป บางชนิดจะเป็นนักล่าแบบนำสัตว์เลี้ยง หรือจะรับประทานพืชหรือสิ่งที่ลอยมาในน้ำ.
-
สีและลวดลาย: ปลาสว่ายมีลักษณะสีและลวดลายที่หลากหลาย เป็นเครื่องหมายที่ช่วยป้องกันและปรับสภาพแวดล้อมได้ บางชนิดอาจมีสีสันสดใสและสวยงามเพื่อการจับสมดุลระหว่างการปกป้องตนเองและการดึงดูดพันธุ์ต่อ.
-
การปักหลัก: ปลาสว่ายมีวิธีการปักหลักที่หลากหลาย บางชนิดมีการคลุมตัวด้วยกระสุนหรือขยี้เกล็ด และบางชนิดมีการปักหลักแบบสีที่สวยงาม.
-
สภาพแวดล้อม: ปลาสว่ายอาศัยอยู่ในทะเล แม่น้ำ บึง บ่อน้ำ และสิ่งน้ำอื่น ๆ มีปลาสว่ายที่อาศัยในน้ำจืดและน้ำเค็ม รวมถึงปลาสว่ายที่อาศัยในระบบน้ำหวานและน้ำเค็ม.
-
การเลี้ยงลูก: ปลาสว่ายทำการเลี้ยงลูกในรูปแบบต่าง ๆ และอาจมีพฤติกรรมการดูแลลูกที่น่าสนใจ เช่น การปกป้องและดูแลลูก.
หวังว่าหลายๆคนจะหันมาทานปลาสว่ายกันมากขึ้นนะครับ
อ้างอิงจาก: โรงบาลราชวิถี wiki pantip