หัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน ทำอย่างไรหากอยู่คนเดียว
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน ทำอย่างไร หากอยู่คนเดียว
ปัจจุบันโรคหัวใจได้ค่าชีวิตของคนทั่วโลก ไปเป็นจำนวนที่มากจนน่าตกใจ แน่นอนว่า หากเลิกได้ ทุกคนคงอยากมีหัวใจแข็งแรง และหากเป็นโรคนี้แล้ว คงต้องงานการดูแลทั้งจากญาติมิตรครอบครัวและคุณหมอ เพื่อให้มีอายุยืนนานที่สุดเท่าที่จะทำได้
แต่จะทำยังไงได้หากเราเป็นคนหนึ่ง ที่ต้องใช้ชีวิตเพียงลำพัง ในกิจกรรมหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการขับรถไปทำงานทานข้าว เข้าห้องน้ำ ออกไปจัดการธุระ หรือเดินทางคนเดียว และสักวันหนึ่ง เราพบว่า มีอาการหัวใจกำเริบเฉียบพลัน ทั้งงานเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง แต่กระจายไปตามแขน ลามขึ้นมายังขากรรไกร แม้จะอยู่ห่างกับนมพยาบาลไม่เท่าไหร่ แต่ก็ไม่รู้ว่า เราจะขับรถพยุงตัวเองไปจนถึงที่นั่นได้หรือไม่.
จากวารสารJournal ofgeneral Hospital Rochester ได้ เผยแพร่ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาผู้ป่วยโรคหัวใจ ขณะอยู่คนเดียวไว้อย่างน่าสนใจว่า
สิ่งแรกที่ต้องทำก็คือ การมีสติ แม้คุณจะเริ่มมีอาการหัวใจกำเริบเฉียบพลัน อันเกิดมาจากความเครียดจากงาน ความกดดันความโกรธหรืออะไรก็ตาม ส่วนใหญ่แล้วตามสถิติผู้ป่วยจะมีภาวะหัวใจเต้นผิดผิดปกติ จะมีเวลา 10 วินาทีเท่านั้น ก่อนจะหน้ามืดและหมดสติไป การไม่ตื่นตระหนกและมีสติก็ยังทำให้ 10 วินาทีนั้นมีความหมายมากพอ ให้เราช่วยตัวเองด้วยการไอแรงๆหลายๆครั้งติดต่อกัน จากนั้นศูนย์ลมหายใจลึกๆการไอแรงๆแต่ละครั้งให้ไอยาวๆลึกๆเหมือนตอนพยายามขาดเสมหะที่ติดอยู่ในลำคอออกมา.
การไอแรงๆลึกๆนี้หากทำต่อเนื่อง เป็นเวลาทุก 2 วินาทีโดยไม่หยุด จะทำให้ไม่เกิดการหมดสติ เพราะการไอแรงๆจะทำให้เกิดแรงกระเทือนไปช่วยบีบหัวใจ และช่วยให้เลือดหมุนเวียนได้แรงได้ แรงบีบจากการไอนี้ จะพยายามพยุงการทำงานของหัวใจให้หักกลับสู่การเดินเส้นที่เป็นปกติได้ หรือจนกว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากแพทย์นั่นเอง.
นี่คือวิธีการ ที่จะช่วยให้รอดชีวิตได้ แม้จะมีอาการกำเริบขนาดอยู่คนเดียว จากที่คนส่วนใหญ่คิดว่าหัวใจล้มเหลวกระทันหันนั้นคงไม่มีทางรอดได้แน่
อย่าลืมเก็บข้อแนะนำนี้ไว้ปฏิบัติยามฉุกเฉินหรือบอกต่อกันไปให้มากที่สุด เพราะไม่มีใครรู้ว่าวันไหนภาวะหัวใจล้มเหลวจะเกิด ขึ้นกับเราหรือคนใกล้ชิดได้นั่นเอง!!!!!