นาราผลไม้ทะเลทรายแปลกๆมีแต่หนามไม่มีใบ
โพสท์โดย Man
นาราผลไม้ทะเลทรายแปลกๆมีแต่หนามไม่มีใบ
นารา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acanthosicyos horridus)
เป็นไม้พุ่มมีหนามในวงศ์แตง
พบในทะเลทรายนามิบ กิ่งก้านยืดยาว ไม่มีใบแต่มีหนามเป็นจำนวนมาก รากขนาดใหญ่ หยั่งลึกลงในดินได้ถึง 15 เมตรเพื่อดูดน้ำ มีเปลือกนอกที่แข็ง ผลสามารถรับประทานได้
นารา (Nara or Acanthosicyos horridus)
ถิ่นกำเนิดทะเลทรายนามิบ แนมมิเบีย แอฟริกา เป็นพืชตระกูลเดียวกับแตงกวา แตงนารามีแต่หนามไม่มีใบเพื่อลดการสูญเสียน้ำ เป็นพืชทะเลทรายโดยแท้จริง แตงนาราซึ่งเติบโตเต็มที่จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 ซม.
มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เนื้อแตงจะถูกต้มจนเละและทำเป็นแผ่นตากแห้ง อ้อยหวานคิดว่าคงจะเหมือนมะม่วงกวน เมล็ดคั่วเอามาทำอาหาร ส่วนเปลือกใช้เป็นอาหารสัตว์
โพสท์โดย:เรียบเรียงข้อมูลเพิ่มเติมโดย man
อ้างอิงจาก: วิกิพีเดีย
อ้างอิงจาก: วิกิพีเดีย
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
15 VOTES (5/5 จาก 3 คน)
VOTED: ชตระกูล ศรีสวัสดิ์, แหวนดอกไม้วงนั้น, dokmaitongkum
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
โรคกลัวการอาบน้ำ โรคแปลกที่มีอยู่จริง ถ้าใจเราสะอาด น้ำไม่ต้องอาบก็ได้ สำรวจตัวเองแค่แนวคิดขบขันหรือสัญญาณเตือนชีวิตหลังแสงสี! "ทองขาว ภัทรโชคชัย" จากพระเอกดาวรุ่ง สู่พ่อค้าสะเต๊ะไก่ในวันเรียบง่ายอาหารแก้ท้องอืด กลุ่มอาหารลดอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อย ช่วยขับลมในกระเพาะอาหาร เพิ่มประสิทธิภาพลำไส้ให้สมดุลสาวสวยอินเตอร์ ตะลุยเขาสก สัมผัสธรรมชาติที่เหมือนหลุดไปในหนังอวตาร"ใช้เจลหล่อลื่น" ช่วยลดโอกาสการตั้งครรภ์จริงหรือไม่?บ้างาน Workaholic เสพติดการทำงาน เช็กด่วน! สัญญาณของคนบ้างานและวิธีการรับมือดราม่าแรง! ร้านอาหารจีนตลาดคลองเตย ไรเดอร์บอกเหม็นจนจะอ้วกเลขเด็ด "แม่นมาก ขั้นเทพ" งวดวันที่ 2 มกราคม 68 มาแล้ว!..อยากรวย มาส่องกันเลย!!Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
ชีวิตหลังแสงสี! "ทองขาว ภัทรโชคชัย" จากพระเอกดาวรุ่ง สู่พ่อค้าสะเต๊ะไก่ในวันเรียบง่ายกระทู้อื่นๆในบอร์ด รวมสาระบทความแบ่งปั่นกัน
หาดทรายแปลกๆแหวกธรรมชาติ หาดแก้วมหัศจรรย์แห่งอ่าว Ussuri รัสเซียดอกไม้ที่ชื่อว่า Puya berteroniana เป็น ดอกไม้สีแปลก เท่าที่เคยพบเห็นมารถตักดินยักษ์KRUPP BAGGER 288 รถตักดินขนาดใหญ่ที่สามารถขุดดินได้วันละ 240,000 ตันปรากฏการณ์ธรรมชาติแปลกๆครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยอัตราการตกของดาวตกที่ถี่มาก เฉลี่ยแล้วมากถึง 100,000 ดวงต่อชั่วโมง!