หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

หีบหินหรือโลงหินโบราณ ปราสาทบันทายสำเหร่หรือ บันเตียซำแร

โพสท์โดย อับดุล รอเเย๊ะส์

หีบหินหรือโลงหิน ปราสาทบันทายสำเหร่หรือ บันเตียซำแร สร้างขึ้นในรัชสมัยใด ยังไม่มีจารึกปรากฏแน่ชัด
หีบหินโบราณ ซึ่งเป็นหีบที่สมบูรณ์ที่สุด เนื่องจากมีครบทั้งตัวหีบและฝาหีบ ปกติ
หีบหินนี้มีไว้เพื่อบรรจุศพของผู้สร้างปราสาท
ศิลปะการแกะสลักหินที่ปรากฏ เป็นศิลปะแบบพระโค จึงสันนิษฐานได้ว่า เป็นปราสาทที่สร้างในช่วงหริหราลัย
ส่วนชื่อ ซำแร หรือ สำเหร่ ในภาษาไทยนั้น มาจากชื่อของชาวเขมร เผ่าหนึ่งที่ชื่อว่า ซำแร สมัยนั้น ชาวซำแร อาศัยอยู่มากในบริเวณพนมกุเลน
มีการสันนิษฐานว่า ชาวซำแร นั้นเป็นแรงงานสำคัญในการสร้างปราสาท
บริเวณหน้าโคปุระฝั่งตะวันออก จะมีสะพานนาคราชต่อเนื่อง ลงไปถึงถนนที่ทอดยาว เชื่อกันว่าในสมัยนั้น ถนนแห่งนี้เชื่อมต่อไปจนถึง ตัวเมือง
การเข้าชมปราสาทบันทายสำเหร่้ จึงควรเิริ่มเข้าชมจากโคปุระฝั่งตะัวันออก เพื่อจะเดินผ่านสะพานนาคราชเข้าไปยังตัวปราสาท เข้าไปยังปรางค์ประธานเพื่อชม


___________________________

โพสท์โดย: พระบิดา
อ้างอิงจาก: วิกิพีเดีย และ google
⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
5 VOTES (5/5 จาก 1 คน)
VOTED: PaMok
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
แอฟ ทักษอร และ นนกุล คู่รักสุดอบอุ่น รับบทช่างภาพคู่ เฝ้ากองเชียร์ น้องปีใหม่ โชว์ความสามารถบนเวที"แช่หรือไม่แช่? อ.เจษฎ์ชี้ชัด ซีอิ๊ว-ซอสหอยนางรม หลายบ้านทำผิด!"ช่างภาพชาวไต้หวันใช้เวลา 17 ปีถ่ายทอดการเติบโตของลูกชายผ่านเลนส์6 วิธีเติมพลังใจในวันศุกร์ เพื่อเตรียมพร้อมรับวันหยุดสุดสัปดาห์
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
'ไทเลอร์ ติณณภพ' ลูกชาย 'ธานินทร์' ดาวเด่นยุค 80 สู่พระเอกยุคใหม่"วิธีใช้รีโมทแอร์ในโหมดต่าง ๆ เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้าหมอเหรียญทองกำลังมองหาสถานที่เช่าสำหรับตั้งซูเปอร์คลินิก เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีบัตรทองจากโรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ
ประโยชน์ของชาเขียวโครงการช่วยเหลือให้เกิดสภาพคล่องของเศรษฐกิจรู้หรือไม่? แก๊งคอลเซ็นเตอร์มักใช้ข้อมูลอะไรหลอกลวงคุณแผนที่ที่เก่าแก่ที่สุดของยุโรปอายุ 4,000 ปี
ตั้งกระทู้ใหม่