กริชตูเรเดงโตร์ ประติมากรรมพระเยซูตั้งบนยอดเขากอร์โกวาดู บราซิล สูง 38 เมตร เป็นอนุสาวรีย์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
กริชตูเรเดงโตร์ ประติมากรรมพระเยซูตั้งบนยอดเขากอร์โกวาดู บราซิล สูง 38 เมตร ถือเป็นอนุสาวรีย์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
กริชตูเรเดงโตร์
ประติมากรรมพระเยซู ที่มนุษย์ สรรสร้างขึ้นมาจากความเชื่อและความศรัทธาในศาสนาคริส.
ตั้งอยู่บนยอดเขากอร์โกวาดู ประเทศบราซิล
สูงราว 38 เมตร มันเป็นอะไรที่มหัศจรรย์มากๆครับสร้างมาใหญ่โตมโหฬารสูงราว 38 เมตรมองจากไกลๆก็เห็นเด่นชัด...มันก็คือความเชื่อนะครับความศรัทธาในศาสนาเมื่อมีมากมายมันก็จะกลายเป็นความคลั่งไคล
การศรัทธาอะไรมากๆก็ย่อมจะแสดงออกถึงวัตถุประสงค์ที่อยากจะทำอะไรที่มันยิ่งใหญ่และใหญ่โตมโหฬาร...มันเป็นมาตั้งแต่สมัยยุคโบราณจนในปัจจุบันก็ยังมีหลายๆที่
ที่ทำกัน เช่นสร้างรูปปั้นรูปเคารพที่ใหญ่โตมโหฬารสร้างอาราม ศาสนสถานที่ใหญ่โตมันคือความต้องการของมนุษย์นั่นเอง
กริชตูเรเดงโตร์ (โปรตุเกส: Cristo Redentor; อังกฤษ: Christ the Redeemer พระคริสต์ผู้ไถ่) เป็นอลังการประติมากรรมพระเยซูตั้งอยู่บนยอดเขากอร์โกวาดู ประเทศบราซิล สูงราว 38 เมตร
โดยปอล ลันดอฟสกี ประติมากรชาวฝรั่งเศสเชื้อสายโปแลนด์เป็นผู้ออกแบบ และเอโตร์ ดา ซิลวา กอชตา วิศวกรชาวบราซิลดำเนินการสร้าง ใช้เวลาในการสร้าง 5 ปี โดยทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2474
ข้อมูลเบื้องต้น กริชตูเรเดงโตร์, พิกัดภูมิศาสตร์ ...
กริชตูเรเดงโตร์
พิกัดภูมิศาสตร์22°57′7″S 43°12′38″Wที่ตั้งภูเขากอร์โกวาดู,
รีโอเดจาเนโร, ประเทศบราซิลผู้ออกแบบออกแบบโดยปอล ลันดอฟสกี และสร้างโดยHeitor da Silva Costa ร่วมกับAlbert Caquot และก่อใบหน้าโดยGheorghe Leonidaวัสดุหินสบู่ความสูง30 เมตร (98 ฟุต) และสูงโดยรวมที่ฐาน 38 เมตร (125 ฟุต)สร้างเสร็จ12 ตุลาคม ค.ศ.1931กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ.2006
นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์ 7 กรกฎาคม ค.ศ.2007
National Historic Heritage of Brazil ขึ้นเมื่อ2001เลขอ้างอิง1478
รูปปั้นพระเยซูคริสต์ ฉากหลังเป็นยอดเขากอร์โกวาดู
👉🏿ประติมากรรมนี้ถือเป็นอนุสาวรีย์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ทั้งยังเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ และได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของกรุงรีโอเดจาเนโร และเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของชาวบราซิล มีนักท่องเที่ยวเดินทางมายังสถานที่แห่งนี้ราว 1,800,000 รายต่อ
อ้างอิงจาก: วิกิพีเดีย และ google