“เรื่องประหลาด” เกี่ยวกับ “สงครามโลกครั้งที่ 2” ที่คุณอาจจะยังไม่รู้
คุณอาจศึกษาประวัติศาสตร์สงครามโลกมาบ้าง แต่จะบอกว่าเรื่องพวกนี้คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน
ทหารสอดแนมเยอรมันคนแรกถูกสังหารด้วยฝีมือญี่ปุ่น
WorldWar2Database
ในขณะที่ทหารสอดแนมชาวอเมริกันคนแรกถูกฆ่าโดยรัสเซีย
Wikimedia Commons
ระเบิดกว่า 10000 ลูกถูกทิ้งไปทั่วยุโรปโดยฝ่ายพันธมิตร
Wikimedia Commons
อเมริกันสูญเสียทหารไปในอากาศยานมากกว่าทางเรือ
We Are The Mighty
Stanisława Leszczyńska ช่วยส่งเด็กกว่า 3 พันคนไปยังค่ายกักกันที่ Auschwitz เพื่อให้พวกเขารอดพ้นจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โปแลนด์
Wikimedia Commons
ในช่วงสงครามทหารชาวอังกฤษได้รับกระดาษชำระ 3 ม้วนต่อวัน ในขณะที่ชาวอเมริกันได้รับ 22 ม้วน
Wikimedia Commons
ในปี 1941 อเมริกาผลิตรถได้ 3 ล้านกว่าคัน มากกว่าที่ผลิตไดทั้งหมดในช่วงสงครามเพียงแค่ 139 คันเท่านั้น
We Are The Mighty
4 ใน 5 ของทหารเยอรมันถูกฆ่าในแนวรบด้านตะวันออก
The U.S. National Archives and Records Administration
ผู้ชายที่เกิดในปี 1920 ในโซเวียต มีเพียง 20% เท่านั้นที่มีชิตรอดจากสงคราม
Wikimedia Commons
ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารที่มีอายุน้อยที่สุดคือ Calvin Graham วัย 12 ปี ชาวอเมริกัน เขาโกงอายุเพื่อเข้ารับใช้ชาติ
US Navy via Wikimedia Commons
เพียง 1 ใน 4 ของทหารที่เข้าร่วม U-boats เท่านั้นที่รอดชีวิต
Ed Caram
การปิดล้อมสตาลินกราดทำให้ทหารและประชาชนชาวรัสเซียเสียชีวิตมากกว่า ชาวอเมริกันและอังกฤษที่เสียชีวิตในสงครามรวมกันเสียอีก
Bundesarchiv, Bild via Wikimedia Commons
ชาวอเมริกันใช้คำว่า ‘Liberty Steak’ แทน ‘Hamburger’
Flickr/Robyn Lee
หลานชายของฮิตเลอร์ เข้าร่วมกับกองทัพอเมริกันในสงครามโลกครั้งที่ 2
We Are The Mighty
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ กับเฮนรี่ ฟอร์ด เคยถ่ายภาพร่วมกัน
We Are The Mighty
ฐานทัพสอดแนมญี่ปุ่นที่ใหญ่ที่สุดอยู่ในเม็กซิโก
Wikimedia Commons
85% ของผู้อพยพในค่ายรัสเซียเสียชีวิต
Wikimedia Commons
ระเบิดลูกแรกที่ลงที่เบอร์ลินฆ่าช้างไป 1 ตัวที่สวนสัตว์
Wikimedia Commons
ปรมาณูลูกที่ 3 ตั้งเป้าไว้ว่าจะยิงไปที่โตเกียว
Wikimedia Commons
Hiroo Onoda ผู้บังคับบัญชาทหารญี่ปุ่นเข้าร่วมสงครามไม่เคยประกาศยอมแพ้สงคราม กระทั่งในปี 1974
We Are The Mighty
ผู้เสียชีวิตจากสงครามทั้งหมดอยู่ที่ 50-70 ล้านคน โดย 80% มาจาก 4 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย จีน เยอรมนี และโปแลนด์ โดยกว่าครึ่งเป็นพลเรือนที่เป็นเด็กและผู้หญิง
Wikimedia Commons