12,13 มีนา มาดูดาวหางกัน มันจะมาเห็นชัดที่สุด และจะอยู่ใกล้ๆ ดวงจันทร์ คงสวยดีเน๊อะ........
ดาวหางที่สุกสว่าง PAN-STARRS (C/2011 L4) อยู่ในวงโคจรของดาวพุธตอนนี้ และจะสว่างขึ้นเพราะมุ่งหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์ ผู้สังเกตการณ์ที่ซีกโลกใต้ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในช่วงเวลาพลบค่ำตอนพระอาทิตย์กำลังจะตก Michael White จาก Manawatu นิวซีแลนด์ได้ส่งภาพข้างล่างนี้มา
เพราะดาวหาง Pan-STARRS ได้อยู่ตรงขอบฟ้าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตัวของมันก็เห็นได้จากตาเปล่าและหันไปก็จะมองเห็นหางมัน มันมองเห็นได้จากฉากที่เป็นไฟทางหลวงและต้นไม้ต่างๆ (จากภาพ)
หลายๆ วันที่มีความสำคัญในการเห็นดาวหางนี้เมื่อมันมาถึง
5 มีนาคม - Pan-STARRS จะมาใกล้โลกที่สุด 1.1 AU
10 มีนาคม - จะใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 0.3 AU แต่ว่ามันวิ่งผ่านดวงอาทิตย์แสงดวงอาทตย์อาจทำให้ยากต่อการเห็นตัวมัน แต่จะเห็นหางที่สดใสของมัน
12,13 มีนาคม - มันจะกลับมาเห็นได้อีกหนตอนพระอาทิตย์ตก ท้องฟ้าทางซีกโลกทางเหนือไม่ไกลกับดวงจันทร์เสี้ยว (คงสวยดีนะเตรียมตัวจับภาพด้วย-Falkman) และดาวหางนี้จะสว่างสุดถึง 2 magnitude คล้ายๆ กับดาวของดาวในกลุ่มดาวไถ
BRIGHT COMET PAN-STARRS: Comet Pan-STARRS (C/2011 L4) is inside the orbit of Mercury, brightening as it plunges toward the sun. Observers in the southern hemisphere say they can see Pan-STARRS with the unaided eye in the evening sunset sky. Michael White sends this view from Manawatu, New Zealand:
"As Comet Pan-STARRS was setting on the southwestern horizon, its nucleus was visible to the naked eye and its tail could just be seen with averted vision," says White. "Crops in the foreground were illuminated by nearby highway lights."
Several important dates are approaching. On March 5th, Comet Pan-STARRS makes its closest approach to Earth (1.1 AU), followed on March 10th by its closest approach to the sun (0.3 AU). As Comet Pan-STARRS passes the sun, solar glare might make it difficult to see even as the nucleus vaporizes and brightens. By March 12th and 13th, the comet will reappear in the sunset skies of the northern hemisphere not far from the crescent Moon; think photo-op! Light curves suggest that the comet's brightness will peak near 2nd magnitude, similar to the stars of the Big Dipper. Check the realtime comet gallery for the latest images.
http://www.spaceweather.com/
ที่มา: FB:War Room Falkman